Page 134 - เอกสารประกอบหลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
P. 134
130
- หากแหล่งปลูกเคยมีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชหมุนเวียน เช่น ข้าว ข้าวโพด เป็นเวลา 3 ปี
แล้วจึงกลับมาปลูกขมิ้นชันใหม่ หรือจัดการดินโดยใช้ปุ๋ยยูเรียและปูนเผา อัตรา 70 : 800 กิโลกรัมต่อไร่ - ใช้หัว
พันธุ์ที่ปลอดโรค โดยคัดเลือกมาจากแหล่งที่ไม่เคยมีการระบาดของโรคมาก่อน
- การเก็บเกี่ยวผลผลิต อย่าให้เกิดบาดแผล แยกผลผลิตที่เป็นโรคนำไปเผาทำลาย
- ถอนต้นที่เป็นโรคเผาทำลาย และขุดดินบริเวณนั้นผึ่งแดด และโรยปูนขาว
การป้องกันกำจัด โรคดังกล่าว เมื่อเกิดแล้วรักษายากในเบื้องต้นควรถอน ทำลายและควรป้องกันก่อนปลูก โดย
การหมุนเวียน แปลงปลูกและใช้เหง้าพันธุ์ที่ปราศจากโรค
5.6 แมลงศัตรูพืช ได้แก่ [1]
5.6.1 แมลงดูดกินน้ำเลี้ยง (Scale insect หรือ Sucking insect) เช่น เพลี้ย หอย มักวางไข่ไว้ที่ผิวเปลือกเหง้า
เห็นเป็นสะเก็ดสีขาว ดูดกินน้ำเลี้ยงทำความเสียหายแก่ต้นและเหง้า พบได้ทั้งในแปลง และในระยะหลังเก็บเกี่ยว
ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบที่ 2
(ที่มาของภาพประกอบที่ 1 : https://www.kasetkaoklai.com/home/2020/04/ระวังเพลี้ยอ่อนถั่วฝัก/)
(ที่มาของภาพประกอบที่ 2 : https://www.manowthai.com/article110.html)
5.6.2 หนอนหรือแมลงกัดกินใบ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช การป้องกันกำจัดในเบื้องต้นควรทำลาย
ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบที่ 2
(ที่มาของภาพประกอบที่ 1 : https://www.opsmoac.go.th/surin-warning-preview-401391791202)
(ที่มาของภาพประกอบที่ 2 : https://kasetgo.com/t/topic/209996)
........................................
1 การจัดการการผลิตขมิ้นชันในระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อเพิ่มผลผลิต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก.
https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันที่สืบค้น
ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564)
130