Page 130 - เอกสารประกอบหลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
P. 130

126






























                                       ( ที่มาของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 40   การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร
                         https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf )
                          5.3 การใส่ปุ๋ย

                             5.3.1 หากดินมีความอุดมสมบูรณ์ ไม่จำเป็นต้องใส่ปุ๋ยเพิ่มเติมในปีแรก
                             5.3.2 หากปลูกขมิ้นชัน 2 ปี ใส่ปุ๋ยคอก 300 - 500 กรัมต่อหลุม หลังจากดายหญ้าในฤดูฝน โดยใส่

                   รอบโคนต้น
                             5.3.3 กรณีที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยชีวภาพ โรยเป็นแถวข้างต้น ห่างจากโคนต้น
                   8 – 15 เซนติเมตร ใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกหลังปลูก 1 เดือน และครั้งที่สอง หลังปลูก 3 เดือน

                                                                                               [1]
                             ขมิ้นชันต้องการโพแตสเซียมในระยะการเจริญเติบโตของต้นอ่อนแตกกอ และแตกเหง้า
                             - ค่าฟอสฟอรัส (P) ที่เป็นประโยชน์ มากกว่า 15 ppm

                             - ค่าโพแทสเซียม (K) ที่ละลายน้ำได้ มากกว่า 100 ppm


                               ความต้องการแร่ธาตุหลักของขมิ้นชัน เพื่อการเพิ่มผลผลิต
                                - ไนโตรเจน (N) ปริมาณ 20 กิโลกรัมต่อไร่


                               - ฟอสฟอรัส (P) ปริมาณ 10 กิโลกรัมต่อไร่


                                - โพแทสเซียม (K) ปริมาณ 40 กิโลกรัมต่อไร่
                   ........................................

                          1  การจัดการการผลิตขมิ้นชันในระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อเพิ่มผลผลิต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก.
                   https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันที่สืบค้น
                   ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564)






                                                          126
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135